Location

0 7567 3000

ข่าวทั่วไป

ผลการแข่งขันร้อยกรองรางวัลโล่พระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ ๑๖ ประจำปี พ.ศ.๒๕๖๐

04/04/2560

1385



ตามที่อาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์ ได้จัดการแข่งขันร้อยกรองรางวัลโล่พระราชทานสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ครั้งที่ ๑๖ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๐ เมื่อวันที่ ๑ – ๒ เมษายน ๒๕๖๐ ที่ผ่านมา ณ หอประชุมใหญ่ อาคารไทยบุรี มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัดนครศรีธรรมราช นั้น
การจัดการแข่งขันในครั้งนี้มีสถาบันการศึกษาส่งคณะนักกลอนเข้าร่วมแข่งขันในระดับประถมศึกษา จำนวน ๓๐ คณะ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน ๓๔ คณะ มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๓๙ คณะ และระดับอุดมศึกษา จำนวน ๒๖ คณะ ปรากฏผลการประกวดดังนี้

๑.ระดับประถมศึกษา
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โรงเรียนท่าศาลา (คณะที่ ๒)
อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงธนัชชา จับจันทร์
๒. เด็กหญิกรกนก เกสรินทร์


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ โรงเรียนท่าศาลา (คณะที่ ๑)
อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงสายรุ้ง อาภรณ์ ๒. เด็กหญิงภัทราภรณ์ อุตตะระนาด
รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ โรงเรียนวัดดอนตรอ (คณะที่ ๑)
อำเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงวันวิสาข์ วิจิตร
๒. เด็กหญิงกมลลักษณ์ ชูดำ


รางวัลชมเชย อันดับ ๑
ได้แก่ โรงเรียนวัดขรัวช่วย (คณะที่ ๒)
อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงพันไมล์ ปานจันทร์
๒. เด็กหญิงวริศรา คนซื่อ


รางวัลชมเชย อันดับ ๒ ได้แก่ โรงเรียนวัดพระมหาธาตุ (คณะที่ ๒)
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงวันมีสุข เปาะทองคำ
๒. เด็กหญิงกัลยรัตน์ ต่อสุวรรณ


 

๒.ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช (คณะที่ ๒)
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. นางสาวศศินา มะลิเผือก
๒. เด็กชายศักดา ใจห้าว


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑
ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช (คณะที่ ๑)
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงมนัสนันท์ แพทย์ประเสริฐ
๒. เด็กหญิงศุภพิชญ์ เกื้อสกุล


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ โรงเรียนสิชลคุณาธารวิทยา (คณะที่ ๑)
อำเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงปิ่นเกล้า งามขำ
๒. เด็กหญิงลักขณา สิงห์สามารถ


รางวัลชมเชย อันดับ ๑
ได้แก่ โรงเรียนกระทุ่มแพ้ววิทยา
อำเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี
๑. นายเมธาวี ก้านแก้ว
๒. นางสาวน้ำทิพย์ หอมจันทร์


รางวัลชมเชย อันดับ ๒ ได้แก่ โรงเรียนสตรีทุ่งสง (คณะที่ ๑)
อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. เด็กหญิงกชกร รัตนสิริสัมพันธ์
๒. เด็กชายพชรพล พรหมเพศ


 

๓.ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช (คณะที่ ๑)
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. นางสาวกานดามณี รัตนพล
๒. นางสาวญาณกร คนซื่อ


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ (คณะที่ ๑)
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. นางสาวปิยะวดี ขาวเอี่ยม
๒. นางสาวสัชฌกร ร่มรุกข์


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒
ได้แก่ โรงเรียนสตรีทุ่งสง (คณะที่ ๒)
อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช ๑. นายกิตติพงษ์ กิจสมพร
๒. นางสาวธัญชนก สกุลโชติพงศ์

รางวัลชมเชย อันดับ ๑ ได้แก่ โรงเรียนทุ่งใหญ่วิทยาคม (คณะที่ ๒)
อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. นางสาวกมลทิพย์ คำแหง
๒. นางสาวกนกพร อุปฐาก


รางวัลชมเชย อันดับ ๒ ได้แก่ โรงเรียนกัลยาณีศรีธรรมราช (คณะที่ ๑)
อำเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. นางสาวฟารีดา หวันเหล็ม
๒. นายกิตติพงศ์ บุญนาค



๔.ระดับอุดมศึกษา
รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (คณะที่ ๒)
อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
๑. นางสาววีรยา ศรีระบาย
๒. นางสาวแซมบุปผา บัณฑิต


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๑ ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (คณะที่ ๒)
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
๑. นายแมน คล้ายสุวรรณ
๒. นางสาวกมลรัตน์ บุญภา


รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ ๒ ได้แก่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ (คณะที่ ๑)
อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
๑. นายชัชชานนท์ พลฤทธิ์
๒. นางสาวไอยลดา สีเปี้ยว


รางวัลชมเชย อันดับ ๑ ได้แก่ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (คณะที่ ๑)
อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม
๑. นายจตุธรรม แซ่ลี้
๒. นายจิรวัฒน์ บุญสม


รางวัลชมเชย อันดับ ๒ ได้แก่ สำนักวิชาสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
อำเภอท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
๑. นายทวีศักดิ์ วงศ์กีรติเมธาวี
๒. นางสาวนิศรา หล่อทอง

ทั้งนี้จากการจัดกิจกรรมดังกล่าวติดต่อกันมาเป็นระยะเวลากว่า ๑๖ ปี มีคณะนักกลอนจากต่างจังหวัดเข้าร่วมเวทีแข่งขันเพิ่มมากขึ้น โดยในภาคใต้มีสถาบันการศึกษาสมัครเข้าร่วมประกวดร้อยกรอง เช่น จังหวัดชุมพร ระนอง กระบี่ สุราษฏร์ธานี สงขลา พัทลุง พังงา ภูเก็ต และปัตตานี ส่วนภาคอื่น ๆ ได้มีคณะนักกลอนจากจังหวัดบุรีรัมย์ ปราจีนบุรี นครปฐม ฉะเชิงเทรา กาญจนบุรี และกรุงเทพมหานคร เข้าร่วมการแข่งขันในครั้งนี้ ซึ่งอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์มีความมุ่งหมายในการพัฒนาทักษะมาตรฐานผลงานของนักเรียน นักศึกษาในด้านภาษาไทย โดยเฉพาะด้านการแต่งร้อยกรอง เพื่อธำรงรักษาไว้ซึ่งมรดกภูมิปัญญาของบรรพบุรุษไทยที่สั่งสมสืบทอดความงดงามทางด้านวรรณศิลป์ดังกล่าวให้ดำรงอยู่คู่สังคมไทยสืบไป